วันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557



การเรียนครั้งที่ 16
                         วัน อังคาร  ที่ 18  เดือน กุมภาพันธ์   พ.ศ. 2557


            วันนี้อาจารย์ได้พูดงานที่ค้างให้ทำให้ครบเรียบร้อยและได้ให้ส่งวิจัย ใครที่ยังไม่ส่งวันนี้ พรุ่งนี้ให้ส่งงานวิจัยก่อนบ่ายโมงและได้พูดถึงการออกสังเกตการณ์สอน ช่วงชั้นปีที่4 อาจารย์ได้โมคะเพราะไม่ยุติธรรมกับเพื่อนบางกลุ่ม บางเซ็ก เนื่องจากเพื่อนบางกลุ่มไม่รู้ และได้นัดให้มาประชุมวันที่ 19/2/57 เวลา 13.00 – 15.00 .   .ตึกกาญจนาภิเษกเพื่อชี้แจงงานต่างๆและให้นักศึกษาปีที่ 4 ได้เลือกโรงเรียนกันใหม่แล้วอาจารย์ได้แจกข้อสอบให้ไปทำเป็นการบ้าน ( ห้ามลอกกันห้ามหาเว็บไซต์ ) ให้ส่งภายในวันที่ 1 /3/57 และหลังจากนั้นได้ปล่อยให้นักศึกษาไปจัดนิทรรศการที่ห้อง 223


วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

การเรียนครั้งที่ 15
                         วัน อังคาร  ที่ 11  เดือน กุมภาพันธ์   พ.ศ. 2557


เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ LD
            1. การดูแลให้ความช่วยเหลือ
·      สร้างความภาคภูมิใจใจตนเอง
·      มองหาจุดดีจุดแข็งและให้คำชมอยู่เสมอ
·      การเสริมแรงทางบวก
·      รู้จักลักษณะของเด็กที่เป็นสัญญาณเตือน
·      วางแผนการจัดทำแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกบการเรียนรู้ของเด็ก
·      สังเกตความสามารถและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
·      IEP
            2. การรักษาด้วยยา
·      Ritalin
·      Dexedrine
·      Cylext
            หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
·      สศศ. สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ
·      มีหน้าที่ช่วยเหลือประสานงานและส่งตัวเด็ก
·      โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
·      ศูนย์การศึกษาพิเศษ  Early Intervention ย่อมาจาก EI
·      โรงเรียนเฉพาะความพิการ

·      สถาบันราชานุกูล

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

การเรียนครั้งที่ 14
                         วัน อังคาร  ที่ 4 เดือน กุมภาพันธ์   พ.ศ. 2557



การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
·      รักษาตามอาการ
·      แก้ไขความผิดปกติที่พบร่วมด้วย
·      ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน
·      เน้นการดูแลแบบองค์รวม holistic approach
1.           ด้านสุขภาพอนามัย
2.           ด้านส่งเสริมพัฒนาการ
3.           การดำรงชีวิตประจำวัน
4.           การฟื้นฟูสมรรถภาพ
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการการศึกษา
·      การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
            การเลี้ยงดูช่วง 3 เดือนแรก
การปฏิบัติของบิดามารดา
·      ยอมรับความจริง
·      เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้นตอน
·      ให้ความรักและความอบอุ่น
·      การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
·      การคุมกำเนิดและการทำหมัน
·      การสอนเพศศึกษา
·      ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
·      พัฒนาทักษะด้านต่างๆ
·      สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเอง
·      สังคมยอมรับมากขึ้น
·      คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ส่งเสริมความแข็งแรงครอบครัว
·      ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุด
ส่งเสริมความสามารถเด็ก
·      การส่งเสริมโอกาสให้เด็กได้เล่น
·      ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
การปรับพฤติกรรมและฝึกษะทางสังคม
·      เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสม
·      การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
·      ลดการใช้ภาษที่ไม่เหมาะสม
·      ช่วยลดพฤติกรรมก้าวร้าว
·      การสื่อความหมายทดแทน AAC
การสื่อความหมายทดแทน Augmentativ and Alternative Communication ; AAC
การส่งเสริมพัฒนาการ
·      ให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
·      เน้นในเรื่องการมองหน้าสบตา  การมีสมาธิ
·      ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่นๆ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
·      เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม
·      แผนการจักการศึกษาเฉพาะบุคคล
·      โรงเรียนเรียนร่วม
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
·      ทักษะในชีวิตประจำวันและการฝึกทักษะสังคม
·      ให้เด็กสามารถทำได้ด้วยตนเอง
การักษาด้วยยา
·      Methylphenidte (Ritalin) ช่วยลดอาการไม่นิ่ง ซน หุนหันพลันแล่น ขาดสมาธิ
·      Risperidone / Hloperidol ช่วยลดอาการอยู่ไม่นิ่ง หงุดหงิด
·      ยาในกลุ่ม Anionrulsant (ยากันชัก) ใช้ได้ผลในรายที่มีพฤติกรรมกับร้ายตัวเอง
การบำบัดทางเลือก
·      การสื่อความหมายทดแทน AAC
·      ศิลปกรรมบำบัด  Art therapy
·      ดนตรีบำบัด Music therapy
·      การฝังเข็ม  Acupuncture
·      การบำบัดด้วยสัตว์ Animal therapy
พ่อแม่
·      ลูกต้องพัฒนาได้
·      เรารักลูกของเรา ไม่ว่าเขาจะเป็นอย่างไร
·      ถ้าเราไม่รักแล้วใครจะรัก
·      หยุดไม่ได้
·      ดูแลจิตใจและร่างกายของตนเองให้เข้มแข็ง
·      ได้กล่าวโทษตนเองหรือคู่สมรส

·      ควรหันหน้าปรึกษากันในครอบครัว

วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

การเรียนครั้งที่ 13
                         วัน อังคาร  ที่ 28  เดือน มกราคม   พ.ศ. 2557
หมายเหตุ
            อาจารย์ได้ให้นักศึกษาสอบกลางภาค และดิฉันได้หาเนื้อหาเพิ่มเติม
ความรู้เพิ่มเติม
            เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน        
                        เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน หมายถึงเด็กหูหนวก และ เด็กหูตึง
เด็กหูหนวก เป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงคนพูดน้อยมาก ใช้เครื่องช่วยฟังก็ไม่ได้ผล ซึ่งเด็กหูตึงเป็นเด็กที่สามารถได้ยินเสียงพูดบ้าง แต่ต้องใช้เครื่องช่วยฟัง ช่วยขยายเสียงให้ชัดเจนขึ้น
สาเหตุที่ทำให้หูพิการมาตั้งแต่เด็ก
·      ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับเชื้อ ไวรัสหัดเยอรมัน เยื้อหุ้มสมองอักเสบ และซิฟิลิส
·      ขณะที่แม่ตั้งครรภ์อาจได้รับสารหรือยาที่เป็นอันตราย
·      กรรมพันธุ์
·      เด็กขาดออกซิเจนเป็นเวลานาน ในขณะทำคลอด
·      เด็กที่ต้องคลอดก่อนกำหนด
ทำอย่างไรถึงจะรู้ว่าเด็กมีความพิการทางหู
            จากคำแนะนำของคุณหมอเด็ก จากโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่ง กล่าวว่า ถ้าอยากจะรู้ว่าเด็กคนนั้นมีความผิดปกติทางหูหรือไม่นั้น ต้องอาศัยการตรวจอย่างละเอียด อย่างสม่ำเสมอ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ ซึ่งการตรวจเช็คนั้นจะมีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้คุณหมอทราบว่าเด็กคนนั้นมีความพิการทางหูหรือไม่ แต่คุณแม่สามารถสังเกตุจากพัฒนาการการได้ยินเสียงของลูกได้ คือ เด็กตั้งแต่แรกเกิด เมื่อได้ยินเสียงดัง เค้าจะผวา อายุ 5 เดือน เค้าก็จะพยายามเปล่งเสียง อ้อ แอ้ เพื่อตอบสนองเวลาเราพูดด้วย และอายุ 9 เดือน ลูกจะพยายามหันมองตามเสียงที่เราเรียก ดังนั้น คุณแม่ควรเฝ้าดูและช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางการฟังของลูกน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพาลูกไปรับวัคฉีนและพบคุณหมออย่างสม่ำเสมอ
วิธีการที่จะช่วยเด็กที่มีความพิการทางหู มี 2 วิธี
การฝึกฟัง
            จะช่วยพัฒนาทักษะในการใช้ประสาทสัมผัส ในส่วนของการได้ยินเสียงที่เหลืออยู่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด อุปกรณ์ที่มีวามสำคัญมากที่สุดในการฝึกฟัง คือ เครื่องช่วยฟัง ซึ่งจะทำหน้าที่ขยายเสียงให้ดังขึ้น โดยมีปุ่มสามารถปรับเสียงดังค่อยได้ตามความต้องการ มีอยู่ 4 ประเภท แล้วแต่ความถนัดของผู้ใช้ คือ
·      เครื่องช่วยฟังแบบใส่ในรูหู
·      เครื่องช่วยฟังแบบทัดหู
·      เครื่องช่วยฟังแบบติดกระเป๋าเสื้อ
·      เครื่องช่วยฟังแบบแว่นตา
การฝึกพูด
·      เพื่อส่งเสริมให้เด็กเข้าใจในภาษาพูด และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้
·      สถานศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางหู


วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2557

การเรียนครั้งที่ 12
                         วัน อังคาร  ที่ 21  เดือน มกราคม   .. 2557

พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
พัฒนาการ
·       การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
·       ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
·       เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
·       พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง
·       พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้า
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
·       ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
·       ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
·       ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
·       ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด
สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.            โรคทางพันธุกรรม
            เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย
2.            โรคของระบบประสาท
            เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
            ที่พบบ่อยคืออาการชัก
3.            การติดเชื้อ
            การติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติอาจมีตับม้ามโต การได้ยินบกพร่อง ต้อกระจก
4.            ความผิดปกติที่เกี่ยวกับเมตตาบอลิซัม
-         โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
5.            ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
-         การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยและภาวะขาดออกวิเจน
6.            สารคดี
            ตะกั่ว
-         ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมีการศึกษามากที่สุด
-         มีอาการซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
-         ภาวะเป็นพิษ
-         ระดับสติปัญญาต่ำ
            แอลกอฮอร์
-         น้ำหนักแรกเกิดน้อย
-         มีอัตราการเพิ่มน้ำหนักหลังเกิดน้อย ศีรษะเล็ก
-         พัฒนาการทางสติปัญญามีความบกพร่อง
-         เด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
Fetal Alcohol syndrome , FAS
-         ช่วงตาสั้น
-         ร่องริมฝีปากบนเรียบ
-         ริมฝีปากบนยาวและบาง
-         หนังคลุมหน้าตามาก
-         จมูกแบนปลายจมูกเชิดขึ้น
            นิโคติน
-         น้ำหนักแรกเกิดน้อย ขาดสารอาหารในระยะตั้งครรภ์
-         เพื่ออัตราการภายในวัยทารก
-         สติปัญญาบกพร่อง
-         สมาธิสั้น พฤติกรรมก้าวร้าว มีปัญหาด้านการเข้าสังคม
7.            การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
                        อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-         มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า ด้าน
-         ปฏิกิริยาสะท้อน Primifiv reflx  ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป
-          
แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
            1. การชักประวัติ
-         โรคประจำตัว โรคทางพันธุกรรม
-         การเจ็บป่วยในครอบครัว
-         ประวัติการฝากครรภ์
-         ปะวัติเกี่ยวกับการคลอด
-         พัฒนาการที่ผ่านมา
-         การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตัวเอง
เมื่อชักประวัติแล้วจะสามารถบอกได้ว่า
-         ลักษณะพัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่
-         เด็กมีระดับพัฒนาการช้าหรือไม่
-         มีข้อบ่งชี้
            2. การตรวจร่างกาย
            3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
            4. การประเมินพัฒนาการ
            -      การประเมินแบบไม่เป็นทางการ
การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
-         แบบทดสอบ Denver ll
-         Gesell Drawing Test
-         แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด – 5 ปี
แนวทางในการดูรักษา
-         หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
-         การตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
-         การรักษาสาเหตุโดยตรง
-         การส่งเสริมพัฒนาการ
-         ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
-         การตรวจคัดกรองพัฒนาการ
-         การตรวจประเมินพัฒนาการ
-         การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
-         การให้รักษาปละส่งเสริมพัฒนาการ
-         การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ

 กลุ่มดิฉนได้นำเสนองานกลุ่ม ชื่อเรื่อง ออทิสติก